Friday 11 November 2018
Time 08:30 - 12:30 o'clock
💗 The Knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)
อาจารย์ให้นำเสนอคลิปของแต่ละกลุ่มว่ายังต้องเพิ่มเติมว่วนไหนให้มีความสมบูรณ์ก่อนที่จะนำกิจกรรมไปทำการทดลองกับเด็กๆ ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ซึ่งอาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทดลองเป็นดังต่อไปนี้
💥กลุ่ม ติด ตับ จับ ต่อ💥
1.ถ่านเป็นแหล่งกำเนิด
2.ไฟไหลครบวงจร
3.วัตถุแบบไหนที่ทำให้ไฟไหลครบวงจร
👉ไฟจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลครบวงจรจึงทำให้ไฟติดและเป็นตัวนำไฟฟ้า
ส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้าเรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่ว (ที่ไม่ดูดเพราะมีฉนวนหุ้มสายไฟอยู่)
💥กลุ่ม ปริศนา CO2💥
การสอนจากซ้ายไปขวา และเรื่องตัวหนังสือในคลิปวิดีโอควรมีมาตรฐาน การออกเสียงควรเตรียมผ้า อุปกรณ์ให้พร้อม
อาจารย์ให้นำเสนอคลิปของแต่ละกลุ่มว่ายังต้องเพิ่มเติมว่วนไหนให้มีความสมบูรณ์ก่อนที่จะนำกิจกรรมไปทำการทดลองกับเด็กๆ ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ซึ่งอาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทดลองเป็นดังต่อไปนี้
💥กลุ่ม ติด ตับ จับ ต่อ💥
1.ถ่านเป็นแหล่งกำเนิด
2.ไฟไหลครบวงจร
3.วัตถุแบบไหนที่ทำให้ไฟไหลครบวงจร
👉ไฟจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลครบวงจรจึงทำให้ไฟติดและเป็นตัวนำไฟฟ้า
ส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้าเรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่ว (ที่ไม่ดูดเพราะมีฉนวนหุ้มสายไฟอยู่)
💥กลุ่ม ปริศนา CO2💥
การสอนจากซ้ายไปขวา และเรื่องตัวหนังสือในคลิปวิดีโอควรมีมาตรฐาน การออกเสียงควรเตรียมผ้า อุปกรณ์ให้พร้อม
💥กลุ่ม ความลับสีดำ💥
- สีดำทำมาจากอะไร
- ควรให้เด็กมาทดลองหลายๆ คนเพื่อเปรียบเทียบ
- สอนวิธีการทดลอง
- คาดคะเน
สมมติฐาน (ถ้าใช้ปากกาเมจิกสีดำระบายรอบวงของกระดาษกาแฟจะเกิดอะไรขึ้น)
👉สีดำค่อยๆ ซึมออกเห็นสี ผสมกันจนเกิดเป็นสีดำ สีดำมาจากสี น้ำเงิน เขียว ม่วง
💥กลุ่ม น้ำนิ่งไหลลึก💥
การเทน้ำใส่แก้ว ใบที่ 1 ใบที่ 2 สังเกตว่ารูปร่างแก้วต่างกัน เป็นเพราะว่า น้ำเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะไม่ใช้ปริมาณน้ำมาเทียบกัน ถ้าเปรียบเทียบกันควรมีฐานแก้วที่เท่ากัน
👉👉วิดีโอกลุ่ม ติด ดับ จับ ต่อ 👈👈
Things to improve ⇰ ไฟจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลครบวงจรจึงทำให้ไฟติดและเป็นตัวนำไฟฟ้าส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้าเรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่ว
(ที่ไม่ดูดเพราะมีฉนวนหุ้มสายไฟอยู่)
💖ภาพกิจกรรมการทำการทดลอง💖
💗 Skills (ทักษะ)
ความรอบครอบในการทำงานและการวางแผนอย่างมีระบบเพื่อเวลาในอนาคตจะได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
💗 Apply (การนำมาประยุกต์ใช้)
เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์ในการจัดวิชาวิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัยให้เด็กเรียนรู้และเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน
💗 Technique (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และการวางแผนที่เป็นขั้นเป็นตอน สอนให้นักศึกษาเก็บเด็ก ให้ทราบวิธีการสอนที่ถูกต้องว่าควรให้เด็ดกอยู่ในตำแหน่งการนั่งแบบไหน
💗 Assessment (ประเมิน)
our self (ตัวเอง) : การแก้ปัญหาเฉพาะหน้ามีการวางแผน และเตรียมตัวกันมาเป็นอย่างดี
Friend (เพื่อน) : ทุกคนต่างตั้งใจในการสอนเด็กๆ เรื่องวิทยาศาสตร์
Teacher (อาจารย์) : เน้นการมีส่วนร่วม สอนมีความเข้าใจ และใส่ใจนักศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น